หน่วย : ร่อนความคิดวิทยาศาสตร์
คำถามหลัก(Big Question) : เราจะสร้างเครื่องร่อนอย่างไรให้เคลื่อนที่ได้ไกลและอยู่ในอากาศได้นานที่สุด
ภูมิหลังของปัญหา: ในกระบวนการการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆบนโลกใบนี้
ถูกไขปริศนาจากกลุ่มคนที่เรียกว่า “นักวิทยาศาสตร์” หรือผู้เฝ้าสังเกตและทดลอง
ในสิ่งที่ตนเองหรือกลุ่มคนส่วนใหญ่เกิดข้อสงสัย เช่น ปรากการณ์ ฟ้าร้อง ฟ้าฝ่า
ในสมัยอดีตที่ผู้คนเชื่อว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดจากความลี้ลับและสิ่งที่มองไม่เห็น
แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไปมนุษย์มีการพัฒนาทักษะการคิดที่ใช้หลักการเชิงเหตุผลมากยิ่งขึ้น
โดยในช่วงการเปลี่ยนผ่านจากยุคอาณาจักรสู่ยุคอุตสาหกรรม เหล่านักปราชญ์และนักวิทยาศาสตร์ทั้งหลายสามารถไขปริศนาอันลึกลับให้มนุษย์ได้เห็นว่า
สิ่งที่เกิดขึ้นนี้เป็นเพียงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สามารถอธิบายได้อย่างสมเหตุสมผลและเป็นสัจจะ และเทคโนโลยีด้านการคมนาคม
ก็เป็นนวัตกรรมหนึ่งจากการพัฒนาและประดิษฐ์ของนักคิดค้นทั้งหลาย
ซึ่งสามารถทำให้มนุษย์ใช้เวลาในการเดินทางหรือขนส่งสิ่งต่างๆในระยะที่ไกลได้รวดเร็วยิ่งขึ้น แต่ยานยนต์
ที่นำมาใช้ขนส่งยังคงมีข้อจำกัดมากมาย อาทิเช่น รูปร่าง รูปทรง
และการติดตั้งกลไกพิเศษต่างๆ เพื่อความสะดวกสบาย และลดต้นทุนในการผลิต
ดังนั้นจากประเด็นดังกล่าวที่เกิดขึ้น
ใน Quarter ที่ 3 นี้ พี่ ป.5 และคุณครูจึงสนใจที่จะร่วมเรียนรู้ถึงการสร้างเครื่องร่อนเพื่อการคมนาคมที่มีคุณภาพ
ตลอดจนปัจจัยทางวิทยาศาสตร์และแขนงวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงและสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดขึ้น
เป้ามายความเข้าใจUnderstanding
Goals:
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และแขนงวิชาอื่นๆที่เกี่ยวกับนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการคมนาคม
ขนส่งต่างๆ ผ่านหน่วยการประดิษฐ์เครื่องร่อนได้อย่างสร้างสรรค์
ระยะเวลา(Duration) : 10 สัปดาห์ ( 9 ชั่วโมง/ สัปดาห์ )
ครูผู้สอน: นางสาวลักคณา
แสนพงค์ , นายสิทธิชัย แก้วพวง
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PBL) หน่วย: "ร่อนความคิดวิทยาศาสตร์"
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
5 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2558
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
26 – 31
ต.ค. 58
|
โจทย์
: ออกแบบการเรียนรู้
-
เรื่องที่อยากเรียนรู้
- วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
-
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
-
นักเรียนสามารถสรุปผลการทดลองได้อย่างไร
-
นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
-
นักเรียนจะออกแบบปฏิทินการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด
- Round
robin ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง
- Think
pair share สรุปการทดลอง
- Think
pair share เลือกชื่อหน่วย
- Black
board share ตั้งชื่อหน่วย
- Mind
Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- Show
and Share ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
|
-
นักเรียนออกแบบการบันทึกผลการทดลอง การร่อนของวัสดุชนิดต่างๆ เช่น ขวดพลาสติก
กิ่งไม้ เศษกระเบื้อง กระดาษ ไม้อัด ฯลฯ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทดสอบการร่อนของวัสดุชนิดต่างๆ เช่น ขวดพลาสติก กิ่งไม้
เศษกระเบื้อง กระดาษ ไม้อัด ฯลฯ
-
อภิปรายถึงสิ่งที่ได้พบ
-
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
-
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
-
ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ Quarter 3
-
เขียนMind mapping ความรู้ก่อนเรียน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
-
ร่วมกันสังเกตการร่อนของวัสดุ และร่วมกันอภิปรายถึงปรากฏการณ์
-
นำเสนอผลการทดลอง
-
ร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้และออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
-
สรุป Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้
ชิ้นงาน
:
-
แบบบันทึกผลการทดลอง
-
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Mind
Mapping (ก่อนเรียน)
-
ปฏิทินการเรียนรู้ Quarter 3
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนกระบวนการเรียนรู้
ได้อย่างเหมาะสมและน่าสนใจ
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต - ออกแบบและเขียน Mind Mapping / ปฏิทินการเรียนรู้ได้ - ออกแบบกิจกรรมการเรียนได้อย่างน่าสนใจ - ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เช่นกระดาษ สี
ทักษะการสื่อสาร
- นำเสนอความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับผลการทดลอง
-
นำเสนอชื่อหน่วย และปฏิทินการเรียนรู้
ทักษะการจัดการข้อมูล
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากทดลอง ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- Mind
mapping สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
สื่อและอุปกรณ์
- เครื่องร่อนจำลองขนาดใหญ่
- วัสดุอุปกรณ์การทำเครื่องร่อน
|
|
- สรุปการเรียนรู้ประจำสัปดาห์
|
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-
ร่วมรับฟัง แสดงความคิดเห็น กับผู้อื่น
-
ทำงานร่วมกันผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
คุณลักษณะ :
-
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
-
กระตือรือร้นในการทำงาน
|
3
9
– 13
พ.ย.
58
|
โจทย์
: ไขปริศนา บินได้ไม่ไกล?(ต่อ)
- แรงเสียดทาน
- วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุ
คำถาม
- ลูกข่างหยุดหมดเพราะเหตุใด
- ถ้านำลูกข่างไปหมุนในอวกาศจะเป็นอย่างไร
- เพราะเหตุใดเครื่องร่อนจึงไม่บินอยู่กลางอากาศไปตลอดกาล
- เครื่องร่อนหยุดร่อนเพราะเหตุใด
- แรงเสียดทานมีผลต่อการเคลื่อนที่อย่างไร
เครื่องมือคิด
|
- ครูและนักเรียนร่วมทดลอง “ลูกข่าง”
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการทดลอง
ซึ่งเกี่ยวข้องกับการหยุดร่อนของเครื่องร่อน
- ทดลองคุณสมบัติของวัสดุ และบันทึกผลการทดลอง
ความยืดหยุ่น
ความอ่อน/แข็ง
นำความร้อน
นำไฟฟ้า
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลูกข่าง
- ร่วมแสดงความคิดเห็นว่าทำไมเครื่องร่อนจึงหมดแรง
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุ
ชิ้นงาน
:
- สรุปผลการทดลองคุณสมบัติของวัสดุ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถอธิบายถึงแรงเสียดทานและคุณสมบัติต่างๆของวัสดุ
อธิบายการทดลองและการตรวจสอบได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต เลือกวางแผนและออกแบบการใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่อย่าคุ้มค่าในการออกแบบเครื่องร่อน
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน เช่น แรงต้าน แรงจากมือ และแรงต่างๆ
ทักษะการจัดการข้อมูล
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากทดลอง |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- Round robin
อภิปรายเพราะเหตุใดลูกข่างจึงหยุดหมุน
- Think pair
share แรงเสียดทานมีผลต่อการบินของเครื่องร่อนอย่างไร
- Mind
mapping คุณสมบัติของวัสดุ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- ลูกข่าง/ยาง/เหล็ก/แก้วน้ำ/ฟิวส์เจอบอร์ด
- อุปกรณ์ทดลองคุณสมบัติของวัสดุ
|
|
|
ทักษะ ICT
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับรงซึ่งเป็นปัจจัยต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการ
- ทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
|
4
16
- 20
พ.ย.
58
|
โจทย์
: ไขปริศนา บินได้ไม่ตรง?
- ความสมดุลของโครงสร้าง
คำถาม
- ทำไมโมเดลนกถึงทรงตัวอยู่ได้บนนิ้ว
- เราจะออกแบบให้เครื่องร่อนเกิดความสมดุลได้อย่างไร
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองการทรงตัวของนกเซรามิกซ์ และอภิปรายร่วมกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรง
- แบ่งกลุ่ม และออกแบบวิธีการตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
|
ภาระงาน
:
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการทรงตัวของนกเซรามิกซ์และความสมดุลของวัสดุต่างๆ
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถอธิการตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
ผ่านการสร้างเครื่องมือที่สามารถใช้ตรวจสอบได้จริง
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
เครื่องมือคิด
- Round
robin โมเดลนกทรงตัวอยู่บนนิ้วได้อย่างไร
- Round
robin ออกแบบวิธีตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
- Think
pair share ปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรง
- Mind
mapping สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ
/ อุปกรณ์
- โมเดลนกเซรามิก
-
เครื่องร่อน
|
- นำเสนอวิธีการตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
- นักเรียนปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเองให้มีความสมดุล
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
- ออกแบบและนำเสนอผลการตรวจสอบความสมดุลของวัสดุ
- อภิปรายถึงปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรง
- ออกแบบวิธีการตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
- ปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเอง
ชิ้นงาน
:
- เครื่องร่อน
- สรุปผลการตรวจสอบและวิธีวัดความสมดุล
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- เลือกวางแผนและออกแบบการใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าในการออกแบบเครื่องร่อน
- ออกแบบเครื่องทอดสอบความสมดุลของวัสดุ
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอแนวความคิดของตนเองเกี่ยวกับการทดสอบและแก้ปัญหาเกี่ยวกับความสมดุลของวัตถุ
ทักษะการจัดการข้อมูล
นำความรู้เรื่องความสมดุลมาปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเอง ทักษะการอยู่ร่วมกัน - ร่วมรับฟัง แสดงความคิดเห็น กับผู้อื่น
- ทำงานร่วมกันผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
23
- 27
พ.ย.
58
|
โจทย์
: ปัจจัยแวดล้อมที่ส่งผลต่อการบิน
- แรงดันอากาศ
- ความกดอากาศ
คำถาม
- เราปรับปรุงเครื่องร่อนเป็นอย่างดีแล้ว แต่ในบางครั้งทำไมเครื่องร่อนยังบินไม่ตรง
- นักเรียนคิดว่าอากาศมีน้ำหนักหรือไม่
- ทำไมที่สูงจึงมีอุณหภูมิต่ำ
เครื่องมือคิด
- Round robin
เหตุใดเครื่องร่อนจึงบินไม่ตรง แม้จะปรับสมดุลให้ดีแล้ว
- Round robin
อภิปรายร่วมกันถึงผลการทดลอง
- Mind
mapping สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ
/ อุปกรณ์
- อุปกรณ์ทดลองแรงดันอากาศในขวดน้ำ
- อุปกรณ์ทดลองลูกโป่งกับท่อพีวีซี
|
- ครุและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรงแม้ว่าเราจะปรับปรุงสมดุลของโครงสร้าง
ปีกแล้วก็ตาม
- ทดลองแรงดันอากาศในขวดน้ำ
- อภิปรายร่วมกันและบันทึกผลการทดลอง
- ทดลองลูกโป่งกับท่อพีวีซี
- อภิปรายร่วมกันและบันทึกผลการทดลอง
- ทดลองกระบอกฉีดน้ำแรงดันอากาศ
- อภิปรายร่วมกันและบันทึกผลการทดลอง
- ทดลองความกดอากาศจากสายยางพลาสติก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
- อภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรง
- อภิปรายถึงผลการทดลองแรงดันอากาศและความกดอากาศ
ชิ้นงาน
:
- เครื่องร่อน
- บันทึกผลการทดลอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถให้เหตุผลเกี่ยวกับปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ออกแบบวางแผนเครื่องร่อนให้เหมาะสมกับปัจจัยแวดล้อมที่เกิดขึ้น
ทักษะการสื่อสาร แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการตรวจสอบและแก้ไขปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยเหตุผลจากการทดลอง ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความสุขในการได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- อุปกรณ์ทดลองกระบอกฉีดน้ำแรงดันอากาศ
- อุปกรณ์ทดลองความกดอากาศจากสายยางพลาสติก
|
|
|
|
6
31
พ.ย. – 4 ธ.ค.
|
โจทย์
: การวัดค่า (แน่นอน)
- น้ำหนักกับแรงลอยตัว
- น้ำหนักกับแรงพยุง
- ระยะทาง
คำถาม
-
นักเรียนคิดว่าน้ำหนักของวัตถุ ขณะที่ชั่งบนอากาศ
และในน้ำจะมีความแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด?
-
นักเรียนคิดว่า เมื่อวัตถุวางตัวอยู่ในของเหลวที่ต่างกันประกอบด้วย น้ำบริสุทธิ์ เอทิลแอลกอฮอล์ น้ำมันเบนซิน จะมีสภาพเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด
?
-
นักเรียนสามารถวัดระยะทางของเครื่องร่อนได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Flow
chart สรุปการเรียนรู้
|
-
ครูและนักเรียนร่วมทดลองปล่อย วัตถุสองชิ้น และอภิปรายร่วมกัน
-
ดูคลิปวีดีโอ “นาซ่าพิสูจน์กาลิเลโอ”
-
ทดลอง “แรงลอยตัวของดินน้ำมัน” (การชั่งน้ำหนักในของเหลวและในอากาศ)
-
ตั้งคำถามและอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับการทดลอง
-
ทดลอง “แรงพยุงของวัตถุกับของเหลว”
(กำหนดให้ของเหลว
เป็น น้ำบริสุทธิ์ เอทิลแอลกอฮอล์ น้ำมันเบนซิน )
-
ตั้งคำถามและอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับการทดลอง
-
ทดลอง “วัดระยะทาง”
Ø วัดระยะทางจริงจากการทดลองร่อนเครื่องร่อน
Ø วัดระยะทางจากการทดลองด้วยเครื่องชั่งสปริง
|
ภาระงาน
:
-
ทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับแรงลอยตัว
-
ทดลอง และอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับ“แรงพยุงของวัตถุกับของเหลว”
-
ทดลองและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการวัดระยะทางและความสัมพันธ์ต่างๆ
-
สรุปการเรียนรู้ในรูปแบบ
Flow chart
ชิ้นงาน
:
-
บันทึกผลการทดลอง
- Flow chart สรุปการเรียนรู้ในรูปแบบ
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจกระบวนการตรวจสอบและอธิบายกลไกและความเกี่ยวของปัจจัยด้านแรงลอยตัวและแรงพยุงของวัตถุ
ที่ส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อนได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้ ทักษะการสื่อสาร มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก ทักษะการจัดการข้อมูล - มีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่หลากหลาย - จำแนกและจัดหมวดหมู่สาเหตุของปัญหาได้ถูกต้องเหมาะสม |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- Show
share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
Gmail
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
-
การทดลอง “แรงลอยตัวของดินน้ำมัน”
- การทดลอง “แรงพยุงของวัตถุกับของเหลว”
-
เครื่องมือวัด (ตลับเมตร ไม้บรรทัด
เครื่องชั่งสปริง)
|
- ตั้งคำถามและอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับการทดลอง
-
นำเครื่องร่อนของตนเอง มาร่วมทดลองและหาค่าต่างๆ
-
สรุปการเรียนรู้ในรูปแบบ Flow
chart
-
อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
|
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ:
-
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
-
กระตือรือร้นในการทำงาน
และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
-
ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
7
7
– 11
ธ.ค.
58
|
โจทย์
: การวัดค่า (ไม่แน่นอน)
- เวลา(t)
- ความเร็ว (V)
- แรง(F) เนื่องจากการเคลื่อนที่
คำถาม
- นักเรียนจะสามารถวัดความเร็วของการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อนได้อย่างไร เครื่องมือคิด - Brain Strom กระบวนการทดลองเพื่อวัดค่าเวลา ความเร็ว และแรง เนื่องจากการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน |
-
ทดลอง หาค่าความเร็วของเครื่องร่อน เทียบกับเวลา
-
ทดลอง การเคลื่อนที่ของวัตถุ ในรูปแบบการเคลื่อนที่ต่างๆ
-
นำเสนอและอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
|
ภาระงาน
:
- หาค่าความเร็วของเครื่องร่อน
เทียบกับเวลา
ชิ้นงาน
:
-
สรุปผลการทดลอง
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถตรวจสอบความเร็ว
เวลา และแรงเนื่องจากการเคลื่อนที่ของวัตถุอื่นๆและเครื่องร่อนได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
-
ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
-
สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์
- นาฬิกาจับเวลา
-
ตลับเมตร
-
เครื่องร่อน
|
|
|
ทักษะการสื่อสาร
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ฟัง
สิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
-
มีการจัดกลุ่มความรู้ข้อมูล ข่าวสาร ที่ได้จากการสืบค้น
จำแนกเป็นประเด็นความรู้เดิม กับประเด็นที่เป็นความรู้ใหม่
หรือนำเสนอประเด็นที่เป็นสาระสำคัญได้อย่างสอดคล้องน่าเชื่อถือ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ:
-
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
-
กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำ
|
8
14
– 18
ธ.ค.
58
|
โจทย์
: ปรับปรุงกลไกพิเศษ
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าเครื่องร่อนที่มีคุณสมบัติที่ดีควรเป็นอย่างไร
- เราจะปรับปรุงให้เครื่องร่อน ร่อนอยู่ในอากาศได้นานได้อย่างไร
|
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับลักษณะการร่อนของเครื่องร่อนที่แต่ละคนได้สร้างขึ้น
|
ภาระงาน
:
- อภิปรายถึงปัจจัยที่ทำให้เครื่องบินสามารถบินได้ในระยะทางที่ไกลและร่อนได้นานขึ้น
|
ความรู้:
เข้าใจถึงปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่ส่งผลต่อการบิน
และรู้วิธีการปรับปรุงเครื่องร่อนให้สอดคล้องกันปัจจัยแวดล้อมภายนอก
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- นักเรียนจะออกแบบเพิ่มเติมกลไกพิเศษสำหรับเครื่องร่อนเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการร่อนได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brain Strom ออกแบบกลไกพิเศษให้เครื่องร่อน
- Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์และผลการปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเอง
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- อุปกรณ์พิเศษเพิ่มเติมสำหรับการปรับปรุงเครื่องร่อน เช่น มอเตอร์
หนังยาง ฯลฯ
|
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบกลไกพิเศษเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเครื่องร่อน
พร้อมนำเสนอแนวคิด
- นักเรียนปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเอง พร้อมทดลองและบันทึกผลการทดลอง
|
- อภิปรายถึงการปรับปรุงเครื่องร่อนของตัวเองว่าจะปรับปรุงอย่างไร
ชิ้นงาน
:
- แบบกลไกพิเศษ
- เครื่องร่อนของ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ทักษะ
ทักษะชีวิต สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้ ทักษะการสื่อสาร - มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก ทักษะการจัดการข้อมูล - มีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่หลากหลาย - จำแนกและจัดหมวดหมู่สาเหตุของปัญหาได้ถูกต้องเหมาะสม
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
21
– 25
ธ.ค.
58
|
โจทย์
: มหกรรมเครื่องร่อน
คำถาม
-
นักเรียนจะนำเสนอสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเกิดความรู้ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and
Share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ
/ อุปกรณ์
-
เครื่องร่อน
|
-
ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและจัดนิทรรศการเครื่องร่อนร่วมกัน
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ภาระงาน
:
- ออกแบบนิทรรศการมหกรรมเครื่องร่อน
-
จัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ชิ้นงาน
:
-
เครื่องร่อน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถแนะนำการออกแบบการทำเครื่องร่อน
ตลอดจนสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เพื่อให้ผู้อื่นเกิดความรู้ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต - ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน - สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้ ทักษะการสื่อสาร - เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ จากสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้ ทักษะการจัดการข้อมูล - มีการจัดกลุ่มความรู้ข้อมูล ข่าวสาร ที่ได้จากการสืบค้น จำแนกเป็นประเด็นความรู้เดิม กับประเด็นที่เป็นความรู้ใหม่ หรือนำเสนอประเด็นที่เป็นสาระสำคัญได้อย่างสอดคล้องน่าเชื่อถือ ทักษะการอยู่ร่วมกัน - ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
|
|
|
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
-
กระตือรือร้นในการทำงาน
|
10
28
- 29
ธ.ค.58
|
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
คำถาม - นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง
-
นักเรียนจะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตได้อย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share ความคิดเห็นสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว กับสิ่งที่ควรปรับปรุงเกี่ยวกับหนังเครื่องร่อน - ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter นี้ผ่านเครื่องมือ คิด Round Rubin - สรุปองค์ความรู้หลังเรียนผ่านเครื่องมือMaid Mapping - Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ
/ อุปกรณ์
-
กระดาษ A3
|
-
อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter3
-
นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ /ประเมินตนเอง
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
-
แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอด Quarter 3
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
-
สรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
ชิ้นงาน
:
- Mind
Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
-
นิทรรศการเครื่องร่อน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถสรุปแก่นแท้ของการกระบวนการเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ ทักษะชีวิต - สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้ ทักษะการสื่อสาร - สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆได้ ทักษะการจัดการข้อมูล - สามารถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
|
|
|
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
ตารางวิเคราะห์หัวเรื่องโครงงานกับมาตรฐานการเรียนรู้
(ตัวชี้วัด) แต่ละกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง “เครื่องร่อน” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2/2558
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการสร้างเครื่องร่อน ได้แก่
การออกแบบเครื่องร่อน และการเลือกวัสดุมาสร้างเครื่องร่อน
ตลอดจนขั้นตอนและกรรมวิธีการต่างที่ทำให้สร้างเครื่องร่อนจนสำเร็จ
|
มาตรฐาน ว3.1
- ทดลองและอธิบายสมบัติของของวัสดุชนิดต่างๆ
เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว การนำความร้อน
การนำไฟฟ้าและความหน้าแน่น
(ว3.1 ป.5/1)
-
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(ว3.1 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่างๆ
ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์
(ศ1.1 ป.5/1)
-
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน
(ศ1.1 ป.5/2)
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก
และวรรณะสี
(ศ1.1 ป.5/3)
- สร้างสรรค์งาน ออกแบบงาน โดยเน้นการถ่ายทอดจินตนาการ
(ศ1.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน พ2.1
-
ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (พ2.1 ป.5/3
มาตรฐาน พ3.1
-
ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรงการใช้แรงและความสมดุล (พ3.1 ป.5/3)
-
อธิบายหลักการและเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม (พ3.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน ง1.1
-
อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง1.1 ป.5/1)
-
ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง1.1 ป.5/2)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง1.1 ป.5/4)
|
มาตรฐาน ส1.1
-
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม(ส1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน ส3.1
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว
โรงเรียน และชุมชน(ส3.1 ป.5/2)
|
มาตรฐาน ส2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพบทบาท
สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี(ส2.1 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ส4.1
-
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามทางอย่างมีเหตุผล (ส4.1 ป.5/2)
มาตรฐาน ส4.2
-
อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป (ส4.2 ป.5/2)
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการสร้างเครื่องร่อน ได้แก่
การออกแบบเครื่องร่อน และการเลือกวัสดุมาสร้างเครื่องร่อน ตลอดจนขั้นตอนและกรรมวิธีการต่างที่ทำให้สร้างเครื่องร่อนจนสำเร็จ(ต่อ)
|
|
-
ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ1.1 ป.5/6)
|
|
มาตรฐาน ง2.1
- อธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี (ง2.1 ป.5/1)
-
สร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามความสนใจอย่างปลอดภัย โดยกำหนดปัญหา
หรือความต้องการรวบรวมข้อมูลเลือกวิธีการออกแบบ โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล
(ง2.1 ป.5/2)
-
นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้ (ง2.1 ป.5/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2
ลักษณะในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (ง2.1 ป.5/4)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการสร้างเครื่องร่อน ได้แก่
การออกแบบเครื่องร่อน และการเลือกวัสดุมาสร้างเครื่องร่อน
ตลอดจนขั้นตอนและกรรมวิธีการต่างที่ทำให้สร้างเครื่องร่อนจนสำเร็จ(ต่อ)
|
|
|
|
-
เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคมและมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่
(ง2.1 ป.5/5)
มาตรฐาน ง3.1
- ค้นหา
รวบรวมข้อมูลที่สนใจและเป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง3.1 ป.5/1)
-
สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ (ง3.1 ป.5/2)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการสร้างเครื่องร่อน ได้แก่
การออกแบบเครื่องร่อน และการเลือกวัสดุมาสร้างเครื่องร่อน
ตลอดจนขั้นตอนและกรรมวิธีการต่างที่ทำให้สร้างเครื่องร่อนจนสำเร็จ(ต่อ)
|
|
|
|
มาตรฐาน พ4.1
-
แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งขาติ
(พ4.1 ป.5/1)
-
ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน (พ4.1 ป.5/4)
มาตรฐาน พ5.1
- ปฏิบัติตนเพื่อป้องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา(พ5.1 ป.5/5)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการทดสอบการร่อน การวัดผล
การต่อยอดพัฒนาให้เครื่องร่อนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
|
มาตรฐาน ว4.1
-
ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงซึ่งอยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ
(ว4.1 ป.5/1)
- ทอดลองและอธิบายความดันอากาศ
(ว4.1 ป.5/2)
- ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว
(ว4.1 ป.5/3)
- ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัว
และการจมของวัตถุ (ว4.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ว4.2
-
ทดลองและอธิบายแรงเสียดทานและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว4.2 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่างๆ
ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์
(ศ1.1 ป.5/1)
-
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน
(ศ1.1 ป.5/2)
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก
และวรรณะสี
(ศ1.1 ป.5/3)
- สร้างสรรค์งาน ออกแบบงาน
โดยเน้นการถ่ายทอดจินตนาการ
(ศ1.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน พ2.1
-
ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน(พ2.1 ป.5/3
มาตรฐาน พ3.1
-
ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรงการใช้แรงและความสมดุล (พ3.1 ป.5/3)
-
อธิบายหลักการและเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม (พ3.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน ง1.1
-
อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง1.1 ป.5/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง1.1 ป.5/2)
-
มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า (ง1.1 ป.5/4)
|
มาตรฐาน ส1.1
-
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
(ส1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน ส3.1
-
ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว
โรงเรียน และชุมชน(ส3.1 ป.5/2)
|
มาตรฐาน ส2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพบทบาท
สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี (ส2.1 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ส4.1
-
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามทางอย่างมีเหตุผล (ส4.1 ป.5/2)
มาตรฐาน ส4.2
-
อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป (ส4.2 ป.5/2)
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการทดสอบการร่อน การวัดผล
การต่อยอดพัฒนาให้เครื่องร่อนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น(ต่อ)
|
มาตรฐาน ว8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่อง
หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(ว8.1 ป.5/1)
- วางแผนการสังเกต
เสนอการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบ (ว8.1 ป.5/2)
- เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้
(ว8.1 ป.5/3)
- บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพและตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้นำเสนอผลและข้อสรุป
(ว8.1 ป.5/4)
|
-
ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
(ศ1.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน พ4.1
-
แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งขาติ
(พ4.1 ป.5/1)
-
ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน (พ4.1 ป.5/4)
มาตรฐาน พ5.1
- ปฏิบัติตนเพื่อป้องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา(พ5.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน ง2.1
- อธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี (ง2.1 ป.5/1)
-
สร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามความสนใจอย่างปลอดภัย โดยกำหนดปัญหา
หรือความต้องการรวบรวมข้อมูลเลือกวิธีการออกแบบ โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล
(ง2.1 ป.5/2)
-
นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้
(ง2.1 ป.5/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2
ลักษณะในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (ง2.1 ป.5/4)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการทดสอบการร่อน การวัดผล
การต่อยอดพัฒนาให้เครื่องร่อนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น(ต่อ)
|
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบต่อไป (ว8.1 ป.5/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
อธิบายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
(ว8.1 ป.5/6)
- บันทึกและอธิบายผลการสำรวจ
ตรวจสอบตามความเป็นจริงมีการอ้างอิง (ว8.1 ป.5/7)
|
|
|
-
เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่
(ง2.1 ป.5/5)
มาตรฐาน ง3.1
- ค้นหา
รวบรวมข้อมูลที่สนใจและเป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง3.1 ป.5/1)
-
สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ (ง3.1 ป.5/2)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
จัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้กับบุคคลอื่นที่มีความสนใจ และสรุปการเรียนรู้ Quarter 3
|
มาตรฐาน ว8.1
- นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว8.1 ป.5/8)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่างๆ
ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์
(ศ1.1 ป.5/1)
-
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน
(ศ1.1 ป.5/2)
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก
และวรรณะสี
(ศ1.1 ป.5/3)
- สร้างสรรค์งาน ออกแบบงาน
โดยเน้นการถ่ายทอดจินตนาการ
(ศ1.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน พ2.1
-
ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
(พ2.1 ป.5/3
มาตรฐาน พ3.1
- ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรงการใช้แรงและความสมดุล
(พ3.1 ป.5/3)
-
อธิบายหลักการและเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม (พ3.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน ง1.1
-
อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง1.1 ป.5/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง1.1 ป.5/2)
-
มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง1.1 ป.5/4)
|
มาตรฐาน ส1.1
-
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ส3.1
-
ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว
โรงเรียน และชุมชน
|
มาตรฐาน ส2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพบทบาท สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี
|
มาตรฐาน ส4.1
-
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามทางอย่างมีเหตุผล
(ส4.1 ป.5/2)
มาตรฐาน ส4.2
-
อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป
(ส4.2 ป.5/2)
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
จัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้กับบุคคลอื่นที่มีความสนใจ และสรุปการเรียนรู้ Quarter 3(ต่อ)
|
|
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ1.1 ป.5/6)
- บรรยายประโยชน์
และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน ศ1.2
-
ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้หรือนิทรรศการศิลปะ
(ศ1.2 ป.5/1)
-
อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวัฒนธรรมและภูมิปัญญาในท้องถิ่น
(ศ1.2 ป.5/2)
|
มาตรฐาน พ4.1
-
แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งขาติ
(พ4.1 ป.5/1)
-
ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน
(พ4.1 ป.5/4)
มาตรฐาน พ5.1
- ปฏิบัติตนเพื่อป้องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา(พ5.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน ง2.1
-
สร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามความสนใจอย่างปลอดภัย โดยกำหนดปัญหา
หรือความต้องการรวบรวมข้อมูลเลือกวิธีการออกแบบ โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล
(ง2.1 ป.5/2)
-
นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้
(ง2.1 ป.5/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2
ลักษณะในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
(ง2.1 ป.5/4)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
จัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้กับบุคคลอื่นที่มีความสนใจ และสรุปการเรียนรู้ Quarter 3(ต่อ)
|
|
|
|
-
เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่
(ง2.1 ป.5/5)
มาตรฐาน ง3.1
- ค้นหา
รวบรวมข้อมูลที่สนใจและเป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง3.1 ป.5/1)
-
สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ (ง3.1 ป.5/2)
|
|
|
|
Asia Grand Casino | Play Online and Bitcoin - ShootersCasino
ตอบลบThe online casino 바카라 is 제왕카지노 very simple septcasino to play, and there are dozens of live games available, and that's not all it's lacking.
Wynn Las Vegas - JTHub
ตอบลบJT 충청북도 출장안마 Hub is a data driven 전라남도 출장샵 portal. 광주광역 출장마사지 It connects 세종특별자치 출장샵 your data to data, events, and businesses. 경산 출장안마 The data comes from the Wynn Las Vegas Hotel and Casino,