หน่วย : ร่อนความคิดวิทยาศาสตร์
คำถามหลัก(Big Question) : เราจะสร้างเครื่องร่อนอย่างไรให้เคลื่อนที่ได้ไกลและอยู่ในอากาศได้นานที่สุด
ภูมิหลังของปัญหา: ในกระบวนการการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆบนโลกใบนี้
ถูกไขปริศนาจากกลุ่มคนที่เรียกว่า “นักวิทยาศาสตร์” หรือผู้เฝ้าสังเกตและทดลอง
ในสิ่งที่ตนเองหรือกลุ่มคนส่วนใหญ่เกิดข้อสงสัย เช่น ปรากการณ์ ฟ้าร้อง ฟ้าฝ่า
ในสมัยอดีตที่ผู้คนเชื่อว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดจากความลี้ลับและสิ่งที่มองไม่เห็น
แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไปมนุษย์มีการพัฒนาทักษะการคิดที่ใช้หลักการเชิงเหตุผลมากยิ่งขึ้น
โดยในช่วงการเปลี่ยนผ่านจากยุคอาณาจักรสู่ยุคอุตสาหกรรม เหล่านักปราชญ์และนักวิทยาศาสตร์ทั้งหลายสามารถไขปริศนาอันลึกลับให้มนุษย์ได้เห็นว่า
สิ่งที่เกิดขึ้นนี้เป็นเพียงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สามารถอธิบายได้อย่างสมเหตุสมผลและเป็นสัจจะ และเทคโนโลยีด้านการคมนาคม
ก็เป็นนวัตกรรมหนึ่งจากการพัฒนาและประดิษฐ์ของนักคิดค้นทั้งหลาย
ซึ่งสามารถทำให้มนุษย์ใช้เวลาในการเดินทางหรือขนส่งสิ่งต่างๆในระยะที่ไกลได้รวดเร็วยิ่งขึ้น แต่ยานยนต์
ที่นำมาใช้ขนส่งยังคงมีข้อจำกัดมากมาย อาทิเช่น รูปร่าง รูปทรง
และการติดตั้งกลไกพิเศษต่างๆ เพื่อความสะดวกสบาย และลดต้นทุนในการผลิต
ดังนั้นจากประเด็นดังกล่าวที่เกิดขึ้น
ใน Quarter ที่ 3 นี้ พี่ ป.5 และคุณครูจึงสนใจที่จะร่วมเรียนรู้ถึงการสร้างเครื่องร่อนเพื่อการคมนาคมที่มีคุณภาพ
ตลอดจนปัจจัยทางวิทยาศาสตร์และแขนงวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงและสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดขึ้น
เป้ามายความเข้าใจUnderstanding
Goals:
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และแขนงวิชาอื่นๆที่เกี่ยวกับนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการคมนาคม
ขนส่งต่างๆ ผ่านหน่วยการประดิษฐ์เครื่องร่อนได้อย่างสร้างสรรค์
ระยะเวลา(Duration) : 10 สัปดาห์ ( 9 ชั่วโมง/ สัปดาห์ )
ครูผู้สอน: นางสาวลักคณา
แสนพงค์ , นายสิทธิชัย แก้วพวง
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PBL) หน่วย: "ร่อนความคิดวิทยาศาสตร์"
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
5 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2558
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
26 – 31
ต.ค. 58
|
โจทย์
: ออกแบบการเรียนรู้
-
เรื่องที่อยากเรียนรู้
- วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
-
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง
-
นักเรียนสามารถสรุปผลการทดลองได้อย่างไร
-
นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
-
นักเรียนจะออกแบบปฏิทินการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ
เครื่องมือคิด
- Round
robin ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง
- Think
pair share สรุปการทดลอง
- Think
pair share เลือกชื่อหน่วย
- Black
board share ตั้งชื่อหน่วย
- Mind
Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- Show
and Share ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
|
-
นักเรียนออกแบบการบันทึกผลการทดลอง การร่อนของวัสดุชนิดต่างๆ เช่น ขวดพลาสติก
กิ่งไม้ เศษกระเบื้อง กระดาษ ไม้อัด ฯลฯ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทดสอบการร่อนของวัสดุชนิดต่างๆ เช่น ขวดพลาสติก กิ่งไม้
เศษกระเบื้อง กระดาษ ไม้อัด ฯลฯ
-
อภิปรายถึงสิ่งที่ได้พบ
-
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
-
สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
-
ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ Quarter 3
-
เขียนMind mapping ความรู้ก่อนเรียน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
-
ร่วมกันสังเกตการร่อนของวัสดุ และร่วมกันอภิปรายถึงปรากฏการณ์
-
นำเสนอผลการทดลอง
-
ร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้และออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
-
สรุป Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้
ชิ้นงาน
:
-
แบบบันทึกผลการทดลอง
-
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Mind
Mapping (ก่อนเรียน)
-
ปฏิทินการเรียนรู้ Quarter 3
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนกระบวนการเรียนรู้
ได้อย่างเหมาะสมและน่าสนใจ
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต - ออกแบบและเขียน Mind Mapping / ปฏิทินการเรียนรู้ได้ - ออกแบบกิจกรรมการเรียนได้อย่างน่าสนใจ - ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เช่นกระดาษ สี
ทักษะการสื่อสาร
- นำเสนอความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับผลการทดลอง
-
นำเสนอชื่อหน่วย และปฏิทินการเรียนรู้
ทักษะการจัดการข้อมูล
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากทดลอง ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- Mind
mapping สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
สื่อและอุปกรณ์
- เครื่องร่อนจำลองขนาดใหญ่
- วัสดุอุปกรณ์การทำเครื่องร่อน
|
|
- สรุปการเรียนรู้ประจำสัปดาห์
|
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
-
ร่วมรับฟัง แสดงความคิดเห็น กับผู้อื่น
-
ทำงานร่วมกันผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
คุณลักษณะ :
-
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
-
กระตือรือร้นในการทำงาน
|
3
9
– 13
พ.ย.
58
|
โจทย์
: ไขปริศนา บินได้ไม่ไกล?(ต่อ)
- แรงเสียดทาน
- วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุ
คำถาม
- ลูกข่างหยุดหมดเพราะเหตุใด
- ถ้านำลูกข่างไปหมุนในอวกาศจะเป็นอย่างไร
- เพราะเหตุใดเครื่องร่อนจึงไม่บินอยู่กลางอากาศไปตลอดกาล
- เครื่องร่อนหยุดร่อนเพราะเหตุใด
- แรงเสียดทานมีผลต่อการเคลื่อนที่อย่างไร
เครื่องมือคิด
|
- ครูและนักเรียนร่วมทดลอง “ลูกข่าง”
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการทดลอง
ซึ่งเกี่ยวข้องกับการหยุดร่อนของเครื่องร่อน
- ทดลองคุณสมบัติของวัสดุ และบันทึกผลการทดลอง
ความยืดหยุ่น
ความอ่อน/แข็ง
นำความร้อน
นำไฟฟ้า
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลูกข่าง
- ร่วมแสดงความคิดเห็นว่าทำไมเครื่องร่อนจึงหมดแรง
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุ
ชิ้นงาน
:
- สรุปผลการทดลองคุณสมบัติของวัสดุ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถอธิบายถึงแรงเสียดทานและคุณสมบัติต่างๆของวัสดุ
อธิบายการทดลองและการตรวจสอบได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต เลือกวางแผนและออกแบบการใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่อย่าคุ้มค่าในการออกแบบเครื่องร่อน
ทักษะการสื่อสาร
นำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน เช่น แรงต้าน แรงจากมือ และแรงต่างๆ
ทักษะการจัดการข้อมูล
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากทดลอง |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- Round robin
อภิปรายเพราะเหตุใดลูกข่างจึงหยุดหมุน
- Think pair
share แรงเสียดทานมีผลต่อการบินของเครื่องร่อนอย่างไร
- Mind
mapping คุณสมบัติของวัสดุ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- ลูกข่าง/ยาง/เหล็ก/แก้วน้ำ/ฟิวส์เจอบอร์ด
- อุปกรณ์ทดลองคุณสมบัติของวัสดุ
|
|
|
ทักษะ ICT
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับรงซึ่งเป็นปัจจัยต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการ
- ทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
|
4
16
- 20
พ.ย.
58
|
โจทย์
: ไขปริศนา บินได้ไม่ตรง?
- ความสมดุลของโครงสร้าง
คำถาม
- ทำไมโมเดลนกถึงทรงตัวอยู่ได้บนนิ้ว
- เราจะออกแบบให้เครื่องร่อนเกิดความสมดุลได้อย่างไร
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองการทรงตัวของนกเซรามิกซ์ และอภิปรายร่วมกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรง
- แบ่งกลุ่ม และออกแบบวิธีการตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
|
ภาระงาน
:
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการทรงตัวของนกเซรามิกซ์และความสมดุลของวัสดุต่างๆ
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถอธิการตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
ผ่านการสร้างเครื่องมือที่สามารถใช้ตรวจสอบได้จริง
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
เครื่องมือคิด
- Round
robin โมเดลนกทรงตัวอยู่บนนิ้วได้อย่างไร
- Round
robin ออกแบบวิธีตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
- Think
pair share ปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรง
- Mind
mapping สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ
/ อุปกรณ์
- โมเดลนกเซรามิก
-
เครื่องร่อน
|
- นำเสนอวิธีการตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
- นักเรียนปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเองให้มีความสมดุล
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
- ออกแบบและนำเสนอผลการตรวจสอบความสมดุลของวัสดุ
- อภิปรายถึงปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรง
- ออกแบบวิธีการตรวจสอบความสมดุลของเครื่องร่อน
- ปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเอง
ชิ้นงาน
:
- เครื่องร่อน
- สรุปผลการตรวจสอบและวิธีวัดความสมดุล
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ทักษะ
ทักษะชีวิต
- เลือกวางแผนและออกแบบการใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าในการออกแบบเครื่องร่อน
- ออกแบบเครื่องทอดสอบความสมดุลของวัสดุ
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอแนวความคิดของตนเองเกี่ยวกับการทดสอบและแก้ปัญหาเกี่ยวกับความสมดุลของวัตถุ
ทักษะการจัดการข้อมูล
นำความรู้เรื่องความสมดุลมาปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเอง ทักษะการอยู่ร่วมกัน - ร่วมรับฟัง แสดงความคิดเห็น กับผู้อื่น
- ทำงานร่วมกันผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
23
- 27
พ.ย.
58
|
โจทย์
: ปัจจัยแวดล้อมที่ส่งผลต่อการบิน
- แรงดันอากาศ
- ความกดอากาศ
คำถาม
- เราปรับปรุงเครื่องร่อนเป็นอย่างดีแล้ว แต่ในบางครั้งทำไมเครื่องร่อนยังบินไม่ตรง
- นักเรียนคิดว่าอากาศมีน้ำหนักหรือไม่
- ทำไมที่สูงจึงมีอุณหภูมิต่ำ
เครื่องมือคิด
- Round robin
เหตุใดเครื่องร่อนจึงบินไม่ตรง แม้จะปรับสมดุลให้ดีแล้ว
- Round robin
อภิปรายร่วมกันถึงผลการทดลอง
- Mind
mapping สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ
/ อุปกรณ์
- อุปกรณ์ทดลองแรงดันอากาศในขวดน้ำ
- อุปกรณ์ทดลองลูกโป่งกับท่อพีวีซี
|
- ครุและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรงแม้ว่าเราจะปรับปรุงสมดุลของโครงสร้าง
ปีกแล้วก็ตาม
- ทดลองแรงดันอากาศในขวดน้ำ
- อภิปรายร่วมกันและบันทึกผลการทดลอง
- ทดลองลูกโป่งกับท่อพีวีซี
- อภิปรายร่วมกันและบันทึกผลการทดลอง
- ทดลองกระบอกฉีดน้ำแรงดันอากาศ
- อภิปรายร่วมกันและบันทึกผลการทดลอง
- ทดลองความกดอากาศจากสายยางพลาสติก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
- อภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เครื่องร่อนบินไม่ตรง
- อภิปรายถึงผลการทดลองแรงดันอากาศและความกดอากาศ
ชิ้นงาน
:
- เครื่องร่อน
- บันทึกผลการทดลอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถให้เหตุผลเกี่ยวกับปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ออกแบบวางแผนเครื่องร่อนให้เหมาะสมกับปัจจัยแวดล้อมที่เกิดขึ้น
ทักษะการสื่อสาร แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการตรวจสอบและแก้ไขปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถวิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยเหตุผลจากการทดลอง ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความสุขในการได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- อุปกรณ์ทดลองกระบอกฉีดน้ำแรงดันอากาศ
- อุปกรณ์ทดลองความกดอากาศจากสายยางพลาสติก
|
|
|
|
6
31
พ.ย. – 4 ธ.ค.
|
โจทย์
: การวัดค่า (แน่นอน)
- น้ำหนักกับแรงลอยตัว
- น้ำหนักกับแรงพยุง
- ระยะทาง
คำถาม
-
นักเรียนคิดว่าน้ำหนักของวัตถุ ขณะที่ชั่งบนอากาศ
และในน้ำจะมีความแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด?
-
นักเรียนคิดว่า เมื่อวัตถุวางตัวอยู่ในของเหลวที่ต่างกันประกอบด้วย น้ำบริสุทธิ์ เอทิลแอลกอฮอล์ น้ำมันเบนซิน จะมีสภาพเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด
?
-
นักเรียนสามารถวัดระยะทางของเครื่องร่อนได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Flow
chart สรุปการเรียนรู้
|
-
ครูและนักเรียนร่วมทดลองปล่อย วัตถุสองชิ้น และอภิปรายร่วมกัน
-
ดูคลิปวีดีโอ “นาซ่าพิสูจน์กาลิเลโอ”
-
ทดลอง “แรงลอยตัวของดินน้ำมัน” (การชั่งน้ำหนักในของเหลวและในอากาศ)
-
ตั้งคำถามและอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับการทดลอง
-
ทดลอง “แรงพยุงของวัตถุกับของเหลว”
(กำหนดให้ของเหลว
เป็น น้ำบริสุทธิ์ เอทิลแอลกอฮอล์ น้ำมันเบนซิน )
-
ตั้งคำถามและอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับการทดลอง
-
ทดลอง “วัดระยะทาง”
Ø วัดระยะทางจริงจากการทดลองร่อนเครื่องร่อน
Ø วัดระยะทางจากการทดลองด้วยเครื่องชั่งสปริง
|
ภาระงาน
:
-
ทดลองและอภิปรายเกี่ยวกับแรงลอยตัว
-
ทดลอง และอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับ“แรงพยุงของวัตถุกับของเหลว”
-
ทดลองและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการวัดระยะทางและความสัมพันธ์ต่างๆ
-
สรุปการเรียนรู้ในรูปแบบ
Flow chart
ชิ้นงาน
:
-
บันทึกผลการทดลอง
- Flow chart สรุปการเรียนรู้ในรูปแบบ
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจกระบวนการตรวจสอบและอธิบายกลไกและความเกี่ยวของปัจจัยด้านแรงลอยตัวและแรงพยุงของวัตถุ
ที่ส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อนได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้ ทักษะการสื่อสาร มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก ทักษะการจัดการข้อมูล - มีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่หลากหลาย - จำแนกและจัดหมวดหมู่สาเหตุของปัญหาได้ถูกต้องเหมาะสม |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- Show
share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
Gmail
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
-
การทดลอง “แรงลอยตัวของดินน้ำมัน”
- การทดลอง “แรงพยุงของวัตถุกับของเหลว”
-
เครื่องมือวัด (ตลับเมตร ไม้บรรทัด
เครื่องชั่งสปริง)
|
- ตั้งคำถามและอภิปรายรวมกันเกี่ยวกับการทดลอง
-
นำเครื่องร่อนของตนเอง มาร่วมทดลองและหาค่าต่างๆ
-
สรุปการเรียนรู้ในรูปแบบ Flow
chart
-
อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
|
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ:
-
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
-
กระตือรือร้นในการทำงาน
และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
-
ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
7
7
– 11
ธ.ค.
58
|
โจทย์
: การวัดค่า (ไม่แน่นอน)
- เวลา(t)
- ความเร็ว (V)
- แรง(F) เนื่องจากการเคลื่อนที่
คำถาม
- นักเรียนจะสามารถวัดความเร็วของการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อนได้อย่างไร เครื่องมือคิด - Brain Strom กระบวนการทดลองเพื่อวัดค่าเวลา ความเร็ว และแรง เนื่องจากการเคลื่อนที่ของเครื่องร่อน |
-
ทดลอง หาค่าความเร็วของเครื่องร่อน เทียบกับเวลา
-
ทดลอง การเคลื่อนที่ของวัตถุ ในรูปแบบการเคลื่อนที่ต่างๆ
-
นำเสนอและอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
|
ภาระงาน
:
- หาค่าความเร็วของเครื่องร่อน
เทียบกับเวลา
ชิ้นงาน
:
-
สรุปผลการทดลอง
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถตรวจสอบความเร็ว
เวลา และแรงเนื่องจากการเคลื่อนที่ของวัตถุอื่นๆและเครื่องร่อนได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
-
ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน
-
สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์
- นาฬิกาจับเวลา
-
ตลับเมตร
-
เครื่องร่อน
|
|
|
ทักษะการสื่อสาร
-
เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ คุณค่า ทัศนคติ จากสิ่งที่ได้ฟัง
สิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้
ทักษะการจัดการข้อมูล
-
มีการจัดกลุ่มความรู้ข้อมูล ข่าวสาร ที่ได้จากการสืบค้น
จำแนกเป็นประเด็นความรู้เดิม กับประเด็นที่เป็นความรู้ใหม่
หรือนำเสนอประเด็นที่เป็นสาระสำคัญได้อย่างสอดคล้องน่าเชื่อถือ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ:
-
รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
-
กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำ
|
8
14
– 18
ธ.ค.
58
|
โจทย์
: ปรับปรุงกลไกพิเศษ
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าเครื่องร่อนที่มีคุณสมบัติที่ดีควรเป็นอย่างไร
- เราจะปรับปรุงให้เครื่องร่อน ร่อนอยู่ในอากาศได้นานได้อย่างไร
|
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับลักษณะการร่อนของเครื่องร่อนที่แต่ละคนได้สร้างขึ้น
|
ภาระงาน
:
- อภิปรายถึงปัจจัยที่ทำให้เครื่องบินสามารถบินได้ในระยะทางที่ไกลและร่อนได้นานขึ้น
|
ความรู้:
เข้าใจถึงปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่ส่งผลต่อการบิน
และรู้วิธีการปรับปรุงเครื่องร่อนให้สอดคล้องกันปัจจัยแวดล้อมภายนอก
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
- นักเรียนจะออกแบบเพิ่มเติมกลไกพิเศษสำหรับเครื่องร่อนเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการร่อนได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brain Strom ออกแบบกลไกพิเศษให้เครื่องร่อน
- Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์และผลการปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเอง
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์
- อุปกรณ์พิเศษเพิ่มเติมสำหรับการปรับปรุงเครื่องร่อน เช่น มอเตอร์
หนังยาง ฯลฯ
|
- นักเรียนแต่ละคนออกแบบกลไกพิเศษเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเครื่องร่อน
พร้อมนำเสนอแนวคิด
- นักเรียนปรับปรุงเครื่องร่อนของตนเอง พร้อมทดลองและบันทึกผลการทดลอง
|
- อภิปรายถึงการปรับปรุงเครื่องร่อนของตัวเองว่าจะปรับปรุงอย่างไร
ชิ้นงาน
:
- แบบกลไกพิเศษ
- เครื่องร่อนของ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ทักษะ
ทักษะชีวิต สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้ ทักษะการสื่อสาร - มีความถูกต้องชัดเจนในการสื่อความหมายทั้งการพูด การเขียน และการแสดงออก ทักษะการจัดการข้อมูล - มีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่หลากหลาย - จำแนกและจัดหมวดหมู่สาเหตุของปัญหาได้ถูกต้องเหมาะสม
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
|
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
21
– 25
ธ.ค.
58
|
โจทย์
: มหกรรมเครื่องร่อน
คำถาม
-
นักเรียนจะนำเสนอสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเกิดความรู้ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and
Share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ
/ อุปกรณ์
-
เครื่องร่อน
|
-
ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายและจัดนิทรรศการเครื่องร่อนร่วมกัน
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ภาระงาน
:
- ออกแบบนิทรรศการมหกรรมเครื่องร่อน
-
จัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ชิ้นงาน
:
-
เครื่องร่อน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถแนะนำการออกแบบการทำเครื่องร่อน
ตลอดจนสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เพื่อให้ผู้อื่นเกิดความรู้ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต - ทำงานอย่างมีเป้าหมายและวางแผนในการทำงาน - สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้ ทักษะการสื่อสาร - เข้าใจและสามารถสรุปความรู้ จากสิ่งที่ได้เรียนรู้และนำไปใช้ได้ ทักษะการจัดการข้อมูล - มีการจัดกลุ่มความรู้ข้อมูล ข่าวสาร ที่ได้จากการสืบค้น จำแนกเป็นประเด็นความรู้เดิม กับประเด็นที่เป็นความรู้ใหม่ หรือนำเสนอประเด็นที่เป็นสาระสำคัญได้อย่างสอดคล้องน่าเชื่อถือ ทักษะการอยู่ร่วมกัน - ทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
|
|
|
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
-
กระตือรือร้นในการทำงาน
|
10
28
- 29
ธ.ค.58
|
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
คำถาม - นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง
-
นักเรียนจะนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตได้อย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share ความคิดเห็นสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว กับสิ่งที่ควรปรับปรุงเกี่ยวกับหนังเครื่องร่อน - ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter นี้ผ่านเครื่องมือ คิด Round Rubin - สรุปองค์ความรู้หลังเรียนผ่านเครื่องมือMaid Mapping - Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/ นักเรียน
สื่อ
/ อุปกรณ์
-
กระดาษ A3
|
-
อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter3
-
นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ /ประเมินตนเอง
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
:
-
แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอด Quarter 3
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
-
สรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
ชิ้นงาน
:
- Mind
Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
-
นิทรรศการเครื่องร่อน
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถสรุปแก่นแท้ของการกระบวนการเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ ทักษะชีวิต - สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้ ทักษะการสื่อสาร - สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆได้ ทักษะการจัดการข้อมูล - สามารถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
|
|
|
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
ตารางวิเคราะห์หัวเรื่องโครงงานกับมาตรฐานการเรียนรู้
(ตัวชี้วัด) แต่ละกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง “เครื่องร่อน” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2/2558
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการสร้างเครื่องร่อน ได้แก่
การออกแบบเครื่องร่อน และการเลือกวัสดุมาสร้างเครื่องร่อน
ตลอดจนขั้นตอนและกรรมวิธีการต่างที่ทำให้สร้างเครื่องร่อนจนสำเร็จ
|
มาตรฐาน ว3.1
- ทดลองและอธิบายสมบัติของของวัสดุชนิดต่างๆ
เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว การนำความร้อน
การนำไฟฟ้าและความหน้าแน่น
(ว3.1 ป.5/1)
-
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(ว3.1 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่างๆ
ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์
(ศ1.1 ป.5/1)
-
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน
(ศ1.1 ป.5/2)
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก
และวรรณะสี
(ศ1.1 ป.5/3)
- สร้างสรรค์งาน ออกแบบงาน โดยเน้นการถ่ายทอดจินตนาการ
(ศ1.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน พ2.1
-
ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (พ2.1 ป.5/3
มาตรฐาน พ3.1
-
ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรงการใช้แรงและความสมดุล (พ3.1 ป.5/3)
-
อธิบายหลักการและเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม (พ3.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน ง1.1
-
อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง1.1 ป.5/1)
-
ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง1.1 ป.5/2)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง1.1 ป.5/4)
|
มาตรฐาน ส1.1
-
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม(ส1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน ส3.1
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว
โรงเรียน และชุมชน(ส3.1 ป.5/2)
|
มาตรฐาน ส2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพบทบาท
สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี(ส2.1 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ส4.1
-
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามทางอย่างมีเหตุผล (ส4.1 ป.5/2)
มาตรฐาน ส4.2
-
อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป (ส4.2 ป.5/2)
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการสร้างเครื่องร่อน ได้แก่
การออกแบบเครื่องร่อน และการเลือกวัสดุมาสร้างเครื่องร่อน ตลอดจนขั้นตอนและกรรมวิธีการต่างที่ทำให้สร้างเครื่องร่อนจนสำเร็จ(ต่อ)
|
|
-
ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ1.1 ป.5/6)
|
|
มาตรฐาน ง2.1
- อธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี (ง2.1 ป.5/1)
-
สร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามความสนใจอย่างปลอดภัย โดยกำหนดปัญหา
หรือความต้องการรวบรวมข้อมูลเลือกวิธีการออกแบบ โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล
(ง2.1 ป.5/2)
-
นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้ (ง2.1 ป.5/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2
ลักษณะในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (ง2.1 ป.5/4)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการสร้างเครื่องร่อน ได้แก่
การออกแบบเครื่องร่อน และการเลือกวัสดุมาสร้างเครื่องร่อน
ตลอดจนขั้นตอนและกรรมวิธีการต่างที่ทำให้สร้างเครื่องร่อนจนสำเร็จ(ต่อ)
|
|
|
|
-
เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคมและมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่
(ง2.1 ป.5/5)
มาตรฐาน ง3.1
- ค้นหา
รวบรวมข้อมูลที่สนใจและเป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง3.1 ป.5/1)
-
สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ (ง3.1 ป.5/2)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการสร้างเครื่องร่อน ได้แก่
การออกแบบเครื่องร่อน และการเลือกวัสดุมาสร้างเครื่องร่อน
ตลอดจนขั้นตอนและกรรมวิธีการต่างที่ทำให้สร้างเครื่องร่อนจนสำเร็จ(ต่อ)
|
|
|
|
มาตรฐาน พ4.1
-
แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งขาติ
(พ4.1 ป.5/1)
-
ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน (พ4.1 ป.5/4)
มาตรฐาน พ5.1
- ปฏิบัติตนเพื่อป้องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา(พ5.1 ป.5/5)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการทดสอบการร่อน การวัดผล
การต่อยอดพัฒนาให้เครื่องร่อนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
|
มาตรฐาน ว4.1
-
ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงซึ่งอยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ
(ว4.1 ป.5/1)
- ทอดลองและอธิบายความดันอากาศ
(ว4.1 ป.5/2)
- ทดลองและอธิบายความดันของของเหลว
(ว4.1 ป.5/3)
- ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลว การลอยตัว
และการจมของวัตถุ (ว4.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ว4.2
-
ทดลองและอธิบายแรงเสียดทานและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว4.2 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่างๆ
ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์
(ศ1.1 ป.5/1)
-
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน
(ศ1.1 ป.5/2)
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก
และวรรณะสี
(ศ1.1 ป.5/3)
- สร้างสรรค์งาน ออกแบบงาน
โดยเน้นการถ่ายทอดจินตนาการ
(ศ1.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน พ2.1
-
ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน(พ2.1 ป.5/3
มาตรฐาน พ3.1
-
ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรงการใช้แรงและความสมดุล (พ3.1 ป.5/3)
-
อธิบายหลักการและเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม (พ3.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน ง1.1
-
อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง1.1 ป.5/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง1.1 ป.5/2)
-
มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า (ง1.1 ป.5/4)
|
มาตรฐาน ส1.1
-
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
(ส1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน ส3.1
-
ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว
โรงเรียน และชุมชน(ส3.1 ป.5/2)
|
มาตรฐาน ส2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพบทบาท
สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี (ส2.1 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ส4.1
-
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามทางอย่างมีเหตุผล (ส4.1 ป.5/2)
มาตรฐาน ส4.2
-
อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป (ส4.2 ป.5/2)
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการทดสอบการร่อน การวัดผล
การต่อยอดพัฒนาให้เครื่องร่อนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น(ต่อ)
|
มาตรฐาน ว8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่อง
หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ
(ว8.1 ป.5/1)
- วางแผนการสังเกต
เสนอการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่จะพบจากการสำรวจตรวจสอบ (ว8.1 ป.5/2)
- เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้
(ว8.1 ป.5/3)
- บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพและตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้นำเสนอผลและข้อสรุป
(ว8.1 ป.5/4)
|
-
ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
(ศ1.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน พ4.1
-
แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งขาติ
(พ4.1 ป.5/1)
-
ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน (พ4.1 ป.5/4)
มาตรฐาน พ5.1
- ปฏิบัติตนเพื่อป้องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา(พ5.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน ง2.1
- อธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี (ง2.1 ป.5/1)
-
สร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามความสนใจอย่างปลอดภัย โดยกำหนดปัญหา
หรือความต้องการรวบรวมข้อมูลเลือกวิธีการออกแบบ โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล
(ง2.1 ป.5/2)
-
นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้
(ง2.1 ป.5/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2
ลักษณะในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (ง2.1 ป.5/4)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
กระบวนการทดสอบการร่อน การวัดผล
การต่อยอดพัฒนาให้เครื่องร่อนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น(ต่อ)
|
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบต่อไป (ว8.1 ป.5/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
อธิบายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
(ว8.1 ป.5/6)
- บันทึกและอธิบายผลการสำรวจ
ตรวจสอบตามความเป็นจริงมีการอ้างอิง (ว8.1 ป.5/7)
|
|
|
-
เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่
(ง2.1 ป.5/5)
มาตรฐาน ง3.1
- ค้นหา
รวบรวมข้อมูลที่สนใจและเป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง3.1 ป.5/1)
-
สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ (ง3.1 ป.5/2)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
จัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้กับบุคคลอื่นที่มีความสนใจ และสรุปการเรียนรู้ Quarter 3
|
มาตรฐาน ว8.1
- นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว8.1 ป.5/8)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่างๆ
ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์
(ศ1.1 ป.5/1)
-
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน
(ศ1.1 ป.5/2)
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก
และวรรณะสี
(ศ1.1 ป.5/3)
- สร้างสรรค์งาน ออกแบบงาน
โดยเน้นการถ่ายทอดจินตนาการ
(ศ1.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน พ2.1
-
ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน
(พ2.1 ป.5/3
มาตรฐาน พ3.1
- ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรงการใช้แรงและความสมดุล
(พ3.1 ป.5/3)
-
อธิบายหลักการและเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม (พ3.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน ง1.1
-
อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง1.1 ป.5/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์
(ง1.1 ป.5/2)
-
มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง1.1 ป.5/4)
|
มาตรฐาน ส1.1
-
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ส3.1
-
ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว
โรงเรียน และชุมชน
|
มาตรฐาน ส2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพบทบาท สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี
|
มาตรฐาน ส4.1
-
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำถามทางอย่างมีเหตุผล
(ส4.1 ป.5/2)
มาตรฐาน ส4.2
-
อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป
(ส4.2 ป.5/2)
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
จัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้กับบุคคลอื่นที่มีความสนใจ และสรุปการเรียนรู้ Quarter 3(ต่อ)
|
|
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ1.1 ป.5/6)
- บรรยายประโยชน์
และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน ศ1.2
-
ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้หรือนิทรรศการศิลปะ
(ศ1.2 ป.5/1)
-
อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวัฒนธรรมและภูมิปัญญาในท้องถิ่น
(ศ1.2 ป.5/2)
|
มาตรฐาน พ4.1
-
แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งขาติ
(พ4.1 ป.5/1)
-
ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน
(พ4.1 ป.5/4)
มาตรฐาน พ5.1
- ปฏิบัติตนเพื่อป้องกันอันตรายจากการเล่นกีฬา(พ5.1 ป.5/5)
|
มาตรฐาน ง2.1
-
สร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามความสนใจอย่างปลอดภัย โดยกำหนดปัญหา
หรือความต้องการรวบรวมข้อมูลเลือกวิธีการออกแบบ โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล
(ง2.1 ป.5/2)
-
นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้
(ง2.1 ป.5/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2
ลักษณะในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
(ง2.1 ป.5/4)
|
|
|
|
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
|
จัดนิทรรศการเครื่องร่อน
ถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้กับบุคคลอื่นที่มีความสนใจ และสรุปการเรียนรู้ Quarter 3(ต่อ)
|
|
|
|
-
เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต
สังคมและมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่
(ง2.1 ป.5/5)
มาตรฐาน ง3.1
- ค้นหา
รวบรวมข้อมูลที่สนใจและเป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง3.1 ป.5/1)
-
สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ (ง3.1 ป.5/2)
|
|
|
|